รายงานผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม คณะวิจิตรศิลป์ ประจำปีงบประมาณ 2564

1. ชื่อโครงการ :
ประชุมสัมมนา เรื่องการพัฒนาหลักสูตรกลุ่มวิชาศิลปะไทย สาขาวิชาศิลปะไทย
 
โครงการ/กิจกรรมในแผนการดำเนินการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
โครงการที่ได้รับงบประมาณสนับสนุน จากงบประมาณโครงการยุทธศาสตร์ที่ 3 และ 4
โครงการนอกแผนการดำเนินการโครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
2. ผู้รับผิดชอบโครงการ
ภาณุพงษ์ เลาหสม
ตำแหน่ง
ผู้ช้่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
สาขาวิชาศิลปะไทย ภาควิชาศิลปะไทย
3. สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ :
ยุทธศาสตร์ที่ :
ยุทธศาสตร์ตามพันธกิจที่ 4 - ตามพันธกิจ : ผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม คุณภาพ และมีทักษะการเป็นพลเมืองโลก
กลยุทธ์ที่ :
4.1 ผลักดันการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรให้มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและส่งเสริมให้มีประสบการณ์จริงในการทำงาน
ตัวชี้วัดที่ :
4.1.6 ร้อยละของอาจารย์ที่สามารถนำเครื่องมือ/วิธีการเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 และ/หรือทักษะการเป็นพลเมืองโลกไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอน
4.ตอบสนองตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติงานของคณะวิจิตรศิลป์
ตัวชี้วัดคำรับรองที่ 1 จำนวนผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่า / คุณค่าเพิ่ม หรือผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ที่ได้รับมาตรฐาน (ชิ้นงาน) / จำนวนผลงานตีพิมพ์ที่อยู่ใน TRL 1-3 (ผลงาน)
ตัวชี้วัดคำรับรองที่ 2 จำนวนนวัตกรรม (นวัตกรรม) / จำนวนผลงานที่อยู่ใน TRL 4-7 (ผลงาน)
ตัวชี้วัดคำรับรองที่ 3 จำนวนสิทธิบัตรออกแบบที่ยื่นจด (สิทธิบัตร)
ตัวชี้วัดคำรับรองที่ 4 จำนวนการให้บริการ IP ต่อปี (สิทธิบัตร) หรือจำนวน Spin off / Start up ต่อปี (ธุรกิจ) หรือ ผลงานที่เทียบเท่า TRL 8-9 (ผลงาน) ไม่ตอบสนอง ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติงานของคณะวิจิตรศิลป์
5. หลักการและเหตุผล
หลักสูตรสาขาวิชาศิลปะไทย ได้ทำการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานมคอ.และดำเนินการสอนครั้งแรกปีการศึกษา พ.ศ.2556 ต่อมาครั้งที่ 2 ปีพ.ศ.2561 และปัจจุบันอยู่ระหว่างเตรียมการปรับปรุงครั้งที่ 3 ให้แล้วเสร็จ เพื่ออนุมัติภายในปี พ.ศ.2565 ทั้งนี้หลักสูตรสาขาวิชาศิลปะไทยที่ปรับปรุงและใช้มาในช่วง 8 ปีดังกล่าว มีลักษณะเฉพาะที่มีการกำหนดให้นักศึกษาเลือกกลุ่มวิชาเอกเลือกเฉพาะทางในชั้นปีที่ 2 และเรียนต่อเนื่องไปจนจบชั้นปี 4 โดยการทำโครงงานศิลปะไทย ที่แตกต่างกันตามที่เลือก คือ 1. กลุ่มวิชาการจัดการศิลปวัฒนธรรม 2. กลุ่มวิชาประวัติศาสตร์ศิลป์ และ 3. กลุ่มวิชาศิลปะไทย อย่างไรก็ตามในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาพบว่าจำนวนรับเข้าของนักศึกษาลดลงมาก ไม่ถึงครึ่งของจำนวนที่แจ้งรับ แม้ว่าสาเหตุหลักจะมาจากจำนวนประชากรยุคหลังที่เกิดน้อย ซึ่งส่งผลกระทบกับจำนวนนักศึกษาใหม่ทุกมหาวิทยาลัย แต่ทว่าในจำนวน 9 หลักสูตรของคณะวิจิตรศิลป์ สาขาวิชาศิลปะไทยมีนักศึกษาลดลงมากที่สุดต่อเนื่องกันทุกปี ซึ่งที่ประชุมสาขาวิชาได้มีการหารือและมีความเห็นว่า ส่วนหนึ่งน่าจะเนื่องมาจากชื่อหลักสูตรไม่เป็นที่สนใจของคนรุ่นใหม่ และตัวหลักสูตรเองที่มีวิชาจำนวนมากทั้ง 4 กลุ่มวิชาเลือกรวมถึงวิชาแกนด้วย นอกจากนี้ที่สำคัญคือความไม่ชัดเจนของโครงสร้างหลักสูตรที่กลุ่มวิชาหลักมีธรรมชาติและเป้าหมายการผลิตบัณฑิตแตกต่างกัน ส่งผลถึงคุณภาพบัณฑิตและการรับรู้ของสังคมภายนอก ซึ่งในโอกาสที่จะมีการปรับปรุงหลักสูตรสาขาฯ ครั้งนี้ จึงมีการเสนอว่าการแก้ปัญหาที่น่าจะเป็นก็คือ การแยกออกไปเปิดหลักสูตรใหม่ สำหรับกลุ่มวิชาที่มีความพร้อม ในการนี้ทางกลุ่มวิชาศิลปะไทยจึงเห็นควรขออนุญาตจัดการประชุมสัมมนากลุ่มย่อยขึ้น เพื่อพิจารณาหารือถึงความเป็นไปได้และยกร่างเค้าโครงหลักสูตรใหม่ดังกล่าวในชื่อ “หลักสูตรศิลปบัณฑิตสาขาวิชาศิลปะไทยร่วมสมัย” เพื่อให้สาขาวิชาและคณะให้ความเห็นชอบต่อไป
6. วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อพิจารณาปัญหา สภาพการณ์ปัจจุบัน และความเป็นไปได้ในการเปิดหลักสูตรใหม่ สาขาวิชาศิลปะไทยร่วมสมัย 2. เพื่อยกร่างขั้นตอนที่ 1 และโครงสร้างสร้างหลักสูตรสาขาวิชาศิลปะไทยร่วมสมัย 3. เพื่อเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับอัตรากำลังอาจารย์และแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรใหม่
7. สถานภาพของโครงการ
โครงการเดิม
8.กลุ่มเป้าหมายของโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย ประมาณการ ผู้เข้าร่วมจริง
9.ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) และผลลัพธ์ (Outcome)
ตัวชี้วัดผลผลิต/ผลลัพธ์ และเป้าหมายของตัวชี้วัด
(ที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ / ตัวชี้วัดตามคำรับรองผลการปฏิบัติงานของคณะวิจิตรศิลป์)
ผลผลิต (Output) ค่าเป้าหมาย ความสำเร็จ
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ :
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ :
ผลลัพธ์ :

10. ระยะเวลาเริ่มต้นโครงการ
26 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาสิ้นสุดโครงการ
27 ธันวาคม 2563
11. สถานที่
เบลล์วิลล่า รีสอร์ท อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่
12. กำหนดการ(ถ้ามี)
-
13. สรุปค่าใช้จ่ายของโครงการ/กิจกรรม
ระบุแหล่งงบประมาณ พร้อมระบุรหัสงบประมาณ ที่ใช้ในการเบิกจ่ายเพื่อดำเนินโครงการ/กิจกรรม จำนวน .........0.00 บาท (บาทถ้วน)......... บาท และแสดงรายละเอียดของค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในโครงการโดยแยกรายจ่ายประเภทต่าง ๆ ให้ชัดเจน
รายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้
14.ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ได้ทราบถึงความเป็นไปได้ของการเปิดหลักสูตรใหม่ สาขาวิชาศิลปะไทยร่วมสมัย 2. ได้เตรียมความพร้อมเกี่ยวกับอัตรากำลังและคุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร 3. ได้ข้อสรุปเรื่องแนวทางและโครงสร้างของหลักสูตรใหม่
13.ข้อเสนอแนะจากการจัดโครงการ
หมายเหตุ : หมายเหตุ : หน่วยงาน ไม่ต้อง Print out รายงานและเอกสารหลักฐานแนบจากระบบ e-Project แต่ให้ส่งบันทึกข้อความแจ้งมายังงานนโยบายและแผนและประกันคุณภาพการศึกษา ว่าได้ดำเนินการ รายงานผลการดำเนินการโครงการในระบบ e-Project เป็นที่เรียบร้อยแล้วเท่านั้น (ภายใน 15 วันทำการ หลังจากดำเนินโครงการเสร็จสิ้น)

แนบเอกสาร/หลักฐาน
สำเนาโครงการที่ได้รับอนุมัติ ไฟล์แนบ
กำหนดการ / สูจิบัตร / สื่อสิ่งพิมพ์ / สื่อประชาสัมพันธ์ ไฟล์แนบ
คำสั่งคณะกรรมการดำเนินโครงการ ไฟล์แนบ
รายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ/ใบลงทะเบียน ไฟล์แนบ
ตัวอย่าง แบบสอบถามที่ใช้ในการประเมินโครงการ /สรุปผลประเมินโครงการ ไฟล์แนบ
ภาพบรรยากาศการดำเนินโครงการ/กิจกรรมประกอบโครงการ ไฟล์แนบ
อื่น ๆ (ถ้ามี) ไฟล์แนบ